Overconfident Bias อคติความมั่นใจเกินเหตุ
การลงทุนและการตัดสินใจทางการเงินเต็มไปด้วยความท้าทายและความเสี่ยง สิ่งหนึ่งที่มักจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการตัดสินใจเหล่านี้คือ “อคติความมั่นใจเกินเหตุ” หรือที่เรียกกันว่า Overconfident Bias ซึ่งเป็นหนึ่งในอคติทางความคิดที่สามารถทำให้การตัดสินใจของคุณผิดพลาดได้อย่างไม่รู้ตัว โดยเฉพาะในการลงทุน ในบทความนี้เราจะพาท่านไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับอคตินี้ให้ลึกซึ้งขึ้นและวิธีการหลีกเลี่ยงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้
อคติความมั่นใจเกินเหตุ (Overconfident Bias) คืออะไร?
อคติความมั่นใจที่เกินเหตุเกิดขึ้นเมื่อบุคคลประเมินความสามารถ, ความรู้ หรือทักษะของตนเองสูงเกินไป ซึ่งส่งผลให้เกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาดได้ง่าย โดยเฉพาะในด้านการลงทุน เมื่อเราเชื่อมั่นในตัวเองว่ามีความสามารถในการคาดการณ์ตลาดได้แม่นยำกว่าคนอื่น หรือสามารถจัดการความเสี่ยงได้ดีกว่าคนทั่วไป อาจทำให้เราละเลยการประเมินผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นจากความผิดพลาดในมุมมองที่เราไม่เห็น
ตัวอย่างที่ชัดเจนของอคติความมั่นใจเกินเหตุในด้านการลงทุนคือ การที่ผู้ลงทุนมั่นใจเกินไปจนทำการซื้อขายบ่อยครั้ง หรือเลือกลงทุนในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงโดยไม่พิจารณาความเสี่ยงอย่างรอบคอบ และมักจะเพิกเฉยต่อคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญหรือข้อมูลที่ขัดแย้งกับความเชื่อของตัวเอง
อคติความมั่นใจเกินเหตุในด้านการเงินและการลงทุน
ในโลกการลงทุน ความมั่นใจในตัวเองถือเป็นสิ่งสำคัญ แต่...
Confirmation Bias เป็นจริงหรืออคติไปเอง?
คุณเคยได้ยินคำว่า “Confirmation Bias” กันบ้างไหม? หลายคนอาจไม่เคยได้ยินคำนี้มาก่อน แต่หากลองคิดดูดีๆ อาจพบว่ามันเกิดขึ้นบ่อยครั้งในชีวิตประจำวันของเรา และสามารถส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจและการมองโลกของเราได้มากมาย
วันนี้เราจะมาคุยกันว่า Confirmation Bias คืออะไร และมันเป็นอคติที่เกิดขึ้นจริงๆ หรือมันเป็นเพียงแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง?
Confirmation Bias คืออะไร?
ในเชิงจิตวิทยา Confirmation Bias หมายถึงการแสวงหาข้อมูลที่ยืนยันหรือสนับสนุนความเชื่อที่เรามีอยู่แล้ว โดยจะเลือกรับฟังหรือตีความข้อมูลในลักษณะที่ตรงกับสิ่งที่เราคิดและเชื่อมากกว่าที่จะรับฟังข้อมูลที่ขัดแย้งกับมัน ผลลัพธ์ก็คือเราเชื่อมั่นในความคิดของตัวเองมากขึ้น แม้ว่าข้อมูลที่เราได้รับจะไม่ครบถ้วนหรือไม่เป็นความจริงทั้งหมดก็ตาม
ยกตัวอย่างง่ายๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น เวลาเราตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า...
วางแผนการเทรด เทรดตามแผน
การวางแผนการเทรด เปรียบเสมือนแผนที่ในการออกเดินทาง หากเราเดินทางปราศจากแผนที่ เราก็จะไม่มีวันถึงจุดหมายที่เราฝันไว้ การเทรดก็เช่นเดียวกัน ต้องมีแผนการเทรด เพื่อให้การเทรดเราเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีเส้นทางการเทรดที่ชัดเจน ที่จะภาพเราไปสู่การประสบความสำเร็จในการเทรด
สิ่งที่ต้องมีในแผนการเทรด
กลยุทธ์ในการเทรด : เทรดเดอร์แต่ละคน สไตล์การเทรดไม่เหมือนกัน มันขึ้นอยู่กับเราว่าชอบเทรดสไตล์ไหน ให้เลือกกลยุทธ์ที่ตัวเองถนัดมาใช้ในการเทรด
Trend following : เทรดตามแนวโน้ม ถือนานหน่อย ตั้งแต่ 1 เดือน หรือบางทีอาจเป็นปีเลยก็ได้ โอกาสถูกไม่เยอะ แต่ถ้าได้ที...
Bias ในการเทรด
Bias หรือความอคติทางอารมณ์ที่ทำให้เทรดเดอร์หลายคนตกม้าตายในสนามการเทรด นี่ถือเป็นเรื่องใหญ่ที่เทรดเดอร์ทุกคนต้องควบคุมให้ได้ อย่าตกเป็นเหยื่อของมัน … การต่อสู้กับ Bias นั้นเป็นเรื่องของจิตใจล้วน ๆ การที่จะชนะสิ่งนี้ได้ ต้องอาศัยประสบการณ์ในการเรียนรู้ และจิตใจที่เข้มแข็ง … โดยเราได้รวบรวม Bias ในการเทรดต่างๆ มาให้เทรดเดอร์เรียนรู้กัน
Anchoring Bias - การยึดติดจากประสบการณ์ที่เคยเกิดขึ้นหรือเคยพบเห็น แล้วมีผลต่อมุมมองในเหตุการณ์อนาคตที่ตามมา
ตัวอย่าง :
• เวลาเดินห้าง...
ต้องเก่งแค่ไหน ถึงจะเทรดแล้วกำไร
การเทรดเป็นทักษะอย่างหนึ่งที่ต้องใช้เวลาฝึกฝนและพยายาม ทั้งหาความรู้ควบคู่ไปกับประสบการณ์ในตลาดโดยตรง เพื่อให้ได้มาด้วยผลลัพธ์สุดท้ายคือ “กำไรในระยะยาว”
โดยความสามารถที่นำไปสู่การทำกำไรนั้นมันมีระดับของมันอยู่ ถ้าใครไปถึงระดับนั้นได้แล้วจะอยู่ในโซนของเทรดเดอร์ที่ทำกำไรได้ มากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคน
อย่างเราๆคนทั่วไป ยอมรับว่าไม่ได้เก่ง VI เท่า Warren buffett , วิเคราะห์ Macro ไม่ได้เท่า Josh Soros หรือ Quant เทพๆอย่าง James Simons...
Productive Routine
Productive Routine
• นอนสำคัญสุด
- ถ้าทำงานอยู่แล้วง่วง ให้ไปนอนก่อน ค่อยกลับมาทำ … 1 ชั่วโมงที่ทำงานแบบง่วงๆ ต่อ กับ 1 ชั่วโมงที่ทำหลังจากตื่นนอน จะมีประสิทธิภาพกว่าเยอะมาก
- นอนให้มีคุณภาพ … หลักทั่วๆ ไป
1. ไม่ควรดื่มอาหาร 4 ชั่วโมงก่อนนอน
2. อย่าดื่มกาแฟก่อนนอน รวมถึงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
-...